Do you ever feel like you’re not tapping into your full potential?

คุณเคยมีความรู้สึกว่าเราดีกว่านี้ได้อีก หรือไม่?

WHOLE BRAIN THINKING could be the key to unlocking peak performance for individual and team alike. Whole Brain Thinking suggests that everyone has preferred thinking styles or modes: 

หลักการคิดแบบบูรณาการที่ช่วยดึงศักยภาพความสามารถให้เกิดประสิทธิภาพโดยเริ่มจากกระบวนการความคิดที่แบ่งได้ เป็น 4 รูปแบบ ดังนี้

    1. Analytical thinkers thrive on logic and data most likely Banker, Engineer or Tech expert 

การคิดวิเคราะห์โดยหลักเหตุและผล ยกตัวอย่างความคิดแบบนักจัดการการเงิน, วิศวกร หรือนักเทคโนโลยี 

    1. Rational thinkers prioritize empathy and collaboration mostly profound of service provider or PR and marketing 

การคิดโดยคำนึงถึงความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ซึ่งจำเป็นอย่างยิ่งในสาขาอาชีพงานบริการหรือสื่อสารมวลชน

    1. Practical thinkers focus on planning and execution, most work in Coaching field, Event organizer or Secretarial etc. 

การคิดแบบทักษะขั้นตอน โดยส่วนใหญ่ใช้ในการทำงานที่ต้องมีการวางแผน เช่น การจัดฝึกอบรม หรืองานจัดเลี้ยง

    1. Experimental thinker revels in creativity and innovation which required in manager or business owner 

การคิดแบบนวัตรกรรม ที่สำคัญในการพัฒนาธุรกิจและการจัดการงานให้ประสบผลสำเร็จ

  By integrating these perspectives, it encourages individual to step outside comfort zones and take new ways of thinking and collaboration. Meanwhile the company that adopting WHOLE BRAIN THINKING will create environment that elevate both individual for personal growth and maximize team potential performance.  

ดังนั้นหากเรามีกระบวนการความคิดตามหลักทฤษฎีการคิดแบบบูรณาการทั้ง 4 รูปแบบข้างต้นนั้น จะส่งผลให้เกิดการพัฒนาทางความคิดแต่ละบุคคล อันส่งผลดีต่อการพัฒนาขีดความสามารถตนเองได้อย่างมีศักยภาพสูงสุด เช่นเดียวกันกับองค์กรที่ให้ความสำคัญกับหลักการคิดแบบบูรณาการทั้ง 4 รูปแบบนี้ จะก่อให้เกิดบรรยากาศความสัมพันธ์ที่ดีในที่ทำงาน มีความเห็นอก เห็นใจในความแตกต่าง และประสบผลสำเร็จในการทำงานร่วมกันเป็นทีม

  • Adopting WHOLE BRAIN THINKING to keep up with this complex world challenges! ฝึกการคิดแบบบูรณาการได้อย่างไรบ้าง

In a world of complex challenges demand innovative solution it involves the power of both analytical and creative side of our brain to approach problem holistically. 

ในโลกที่เต็มไปด้วยความท้าทายนวัตกรรมกรรมความคิดที่สมดุลด้วยการคิดวิเคราะห์ที่ดี และความคิดสร้างสรรค์ เป็นพลังขับเคลื่อนการแก้ปัญหาที่ดี สามารถฝึกได้ ดังนี้

Here’s how to adopt this mindset: 

      • Acknowledge how the brain work เข้าใจหลักการทำงานของสมองก่อนฝึกในแต่ละส่วน
      • Balance logic and creativity when face the problem, analyze it logically but don’t hesitate to explore unconventional ideas and intuitive insights ฝึกคิดแก้ปัญหาอย่างสมดุลระหว่างหลักการและความสำคัญกับจิตใจ 
      • Engage in diverse activities i.e. solving puzzles to practice analytical skills or painting to learn more creativity ฝึกทำกิจกรรมที่หลากหลาย เช่น การต่อภาพ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ หรือ เสริมสร้างความคิดสร้างสรรค์ด้วยการวาดภาพ เป็นต้น 
      • Practice mindfulness affect brain areas of cognitive domains, including attention, memory, executive function, and cognitive flexibility. ฝึกสมาธิ เพราะทำให้สมองมีความผ่อนคลายและสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ อีกทั้งการคิดวิเคราะห์จะทำได้อย่างรอบคอบปราศจากการใช้อารมณ์
      • Encourage collaboration can lead to comprehensive solutions by incorporating various approaches 

ให้ความร่วมมือ เพื่อฝึกการยอมรับในความเห็นต่าง และสามารถทำให้มองเห็นข้อดีของการคิดต่างเพื่อสิ่งที่ดีกว่า 

      • Non-stop learning, learn from both failure and achievements เรียนรู้อยู่เสมอจะทำให้สมองได้รับการฝึกคิดและพิจารณา